คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต,บรรยายวิชาการ,วิจัย,ศึกษากุรอาน,E-Book

วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2559

Apps created in App Inventor deploy to the Google Play Store

Summary of the Steps

  • Set your app’s VersionCode and VersionName.
  • Apply for a Google Developer account (one time fee of US $25 after which you can upload an unlimited number of apps, forever).
  • Create at least two and up to 8 screenshots of your app for display in the store’s app listing.
  • Create a “feature graphic” and a high resolution icon for use in the store listing.
  • Use the App Inventor provided keystore file, or use a keystore file you have created elsewhere or previously.
  • Build and export your app as a .apk file to your computer.
  • Create a title for your app in the store
  • Write a description for your app to appear in the store
  • Decide on free versus paid (paid requires a “merchant account” to be set up).
  • Upload your apk file, keystore file, image files and title and description, and provide some additional information (such as product category, pricing, and target audience).

Detailed Steps

  • Set your app’s VersionCode and VersionName. Open your app in App Inventor. Select the Screen1 component in the Designer and then refer to the Properties of Screen1, at the right side of the screen. At the bottom of the properties list, you should see a VersionCode and VersionName items. The VersionCode is a decimal number indicating the version of your app. It starts at 1, and every time you revise the app for submission to the Google Play store, it must be incremented by one such that the next upload is “2”, then “3” and so on. Separately, you can enter a text version name – this may contain anything you want it to contain. Most developers will use 1.0, 1.1, 1.2, 1.3, etc, to indicate minor updates, and then change that 2.0 for the next major update.
  • Sign up for a Google developer account – https://play.google.com/apps/publish/signup/ – or login into your existing developer account.
  • Create a set of screen snapshots after installing and running the app on your phone.  On my phone, I simultaneously press the Power button and the Volume Down button and Android creates a screen snapshot image or photo of my screen. I use that to create screen snapshots of various screens in my app. Then I either email the photo files to myself and download on my computer, or connect up my phone over USB and copy files. If your app may also run on a tablet, you will need to create screen snapshots on a tablet device. Specifics on screen snapshots as quoted from Google:
    • “JPEG or 24-bit PNG (no alpha)
    • Minimum dimension: 320px
    • Maximum dimension: 3840px
    • The maximum dimension of your screenshot can’t be more than twice as long as the minimum dimension.”
  • Design your feature graphic and high resolution icon. For this you will need some graphic software. You can create images using painting programs, or GIMP (free), but there are also commercial drawing and illustration programs that may do a better job (but cost money). If you do not know how to use these painting or drawing programs, you will need to learn how to use them – or if you are lucky, may be you have a friend that does graphic design!
    For your feature graphic:
    • JPEG or 24-bit PNG (no alpha)
    • Dimensions: 1024px by 500px
    For your icon graphic:
    • 32-bit PNG (with alpha)
    • Dimensions: 512px by 512px
    • Maximum file size: 1024KB”
  • Create your app’s Title (up to 30 characters)
  • Create your app’s product description (up to 4000 characters)
  • Determine your app’s price. App’s that start out as free will always remain free (can not change to a paid app later). However, to have a paid app you must set up a “merchant account” with Google (not described in this tutorial – you will see information on setting up a “merchant account” in the Pricing & Distribution section of the Google Play listing management – see illustration below).
  • Download the .apk file to your computer. In App Inventor, open your project and then select Build | App (save .apk file to my computer).
  • About keystore files.  In App Inventor, the Projects menu has options to import and export keystore files. A keystore file is a digital signature that uniquely identifies the app. If you have a keystore file you from elsewhere (such as creating Java apps in Android Studio or Eclipse), you and import that file here. If you do not have a keystore file, App Inventor will create one for you and associate it with your account. When you Build apps in App Inventor, your .apk files will be “signed” with this keystore file.A keystore file is a unique digital signature. If you later wish to update your app, you must provide the original keystore file. If you lose the keystore file, then you will not be able to update the existing app in the store (although you could still delete it or remove it from the store).  This also means that you would lose any user reviews or comments about your app. Therefore, store and backup your keystore file to a safe place. I store mine on two computers plus have a copy located in a cloud storage system. A LOST KEYSTORE FILE CAN NEVER BE RECOVERED; ONCE LOST, IT IS LOST FOREVER.You can use Projects | Export keystore to save a copy on your computer; use Import keystore to load an existing keystore file into App Inventor and then Build your .apk file.
  • Upload your .apk file and other “assets” to the Google Play store. After your file is uploaded (optionally you may skip the .apk upload and move to the product description, if you wish, and then upload the .apk later). As you can see, you can proceed down a set of options at left to incrementally add each of the required files and information to the store listing.

Credit : http://appinventor.pevest.com/?p=987#more-987ll


Apps created in App Inventor deploy to the Google Play Store

Summary of the Steps

  • Set your app’s VersionCode and VersionName.
  • Apply for a Google Developer account (one time fee of US $25 after which you can upload an unlimited number of apps, forever).
  • Create at least two and up to 8 screenshots of your app for display in the store’s app listing.
  • Create a “feature graphic” and a high resolution icon for use in the store listing.
  • Use the App Inventor provided keystore file, or use a keystore file you have created elsewhere or previously.
  • Build and export your app as a .apk file to your computer.
  • Create a title for your app in the store
  • Write a description for your app to appear in the store
  • Decide on free versus paid (paid requires a “merchant account” to be set up).
  • Upload your apk file, keystore file, image files and title and description, and provide some additional information (such as product category, pricing, and target audience).

Detailed Steps

  • Set your app’s VersionCode and VersionName. Open your app in App Inventor. Select the Screen1 component in the Designer and then refer to the Properties of Screen1, at the right side of the screen. At the bottom of the properties list, you should see a VersionCode and VersionName items. The VersionCode is a decimal number indicating the version of your app. It starts at 1, and every time you revise the app for submission to the Google Play store, it must be incremented by one such that the next upload is “2”, then “3” and so on. Separately, you can enter a text version name – this may contain anything you want it to contain. Most developers will use 1.0, 1.1, 1.2, 1.3, etc, to indicate minor updates, and then change that 2.0 for the next major update.
  • Sign up for a Google developer account – https://play.google.com/apps/publish/signup/ – or login into your existing developer account.
  • Create a set of screen snapshots after installing and running the app on your phone.  On my phone, I simultaneously press the Power button and the Volume Down button and Android creates a screen snapshot image or photo of my screen. I use that to create screen snapshots of various screens in my app. Then I either email the photo files to myself and download on my computer, or connect up my phone over USB and copy files. If your app may also run on a tablet, you will need to create screen snapshots on a tablet device. Specifics on screen snapshots as quoted from Google:
    • “JPEG or 24-bit PNG (no alpha)
    • Minimum dimension: 320px
    • Maximum dimension: 3840px
    • The maximum dimension of your screenshot can’t be more than twice as long as the minimum dimension.”
  • Design your feature graphic and high resolution icon. For this you will need some graphic software. You can create images using painting programs, or GIMP (free), but there are also commercial drawing and illustration programs that may do a better job (but cost money). If you do not know how to use these painting or drawing programs, you will need to learn how to use them – or if you are lucky, may be you have a friend that does graphic design!
    For your feature graphic:
    • JPEG or 24-bit PNG (no alpha)
    • Dimensions: 1024px by 500px
    For your icon graphic:
    • 32-bit PNG (with alpha)
    • Dimensions: 512px by 512px
    • Maximum file size: 1024KB”
  • Create your app’s Title (up to 30 characters)
  • Create your app’s product description (up to 4000 characters)
  • Determine your app’s price. App’s that start out as free will always remain free (can not change to a paid app later). However, to have a paid app you must set up a “merchant account” with Google (not described in this tutorial – you will see information on setting up a “merchant account” in the Pricing & Distribution section of the Google Play listing management – see illustration below).
  • Download the .apk file to your computer. In App Inventor, open your project and then select Build | App (save .apk file to my computer).
  • About keystore files.  In App Inventor, the Projects menu has options to import and export keystore files. A keystore file is a digital signature that uniquely identifies the app. If you have a keystore file you from elsewhere (such as creating Java apps in Android Studio or Eclipse), you and import that file here. If you do not have a keystore file, App Inventor will create one for you and associate it with your account. When you Build apps in App Inventor, your .apk files will be “signed” with this keystore file.A keystore file is a unique digital signature. If you later wish to update your app, you must provide the original keystore file. If you lose the keystore file, then you will not be able to update the existing app in the store (although you could still delete it or remove it from the store).  This also means that you would lose any user reviews or comments about your app. Therefore, store and backup your keystore file to a safe place. I store mine on two computers plus have a copy located in a cloud storage system. A LOST KEYSTORE FILE CAN NEVER BE RECOVERED; ONCE LOST, IT IS LOST FOREVER.You can use Projects | Export keystore to save a copy on your computer; use Import keystore to load an existing keystore file into App Inventor and then Build your .apk file.
  • Upload your .apk file and other “assets” to the Google Play store. After your file is uploaded (optionally you may skip the .apk upload and move to the product description, if you wish, and then upload the .apk later). As you can see, you can proceed down a set of options at left to incrementally add each of the required files and information to the store listing.

Credit : http://appinventor.pevest.com/?p=987#more-987ll


วันอังคารที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2559

สร้างฟอร์ม Login จาก Php MySql ด้วย App Inventor

    สร้างฟอร์มหน้า Login ด้วย App Inventor โดยใช้จาก Php และ MySql ที่เก็บค่าใน Server จะสามารถทำได้ดังนี้
1.การกำหนด componant ดังภาพ

2.เขียน Blocks Editor ดังภาพ
    2.1.การกำหนดตัวแปร
       
     2.2.กำหนด Event Handler

3.Code PHP

Download Source Code

วันศุกร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2559

เขียนโปรแกรมด้วย AppInventor ด้วย AI2U

     การเขียนโปรแกรมมือถือด้วย AppInventor นอกจากจะเขียนผ่านwebได้ที่ http://ai2.appinventor.mit.edu/ แล้วยังสามารถเขียน offline ในเครื่องPCได้ด้วย AI2U (
App Inventor 2 Ultimate) ที่ https://sourceforge.net/projects/ai2u/ มีหลักการดังนี้
1.หลังจาก d/l ไฟล์ AI2U 32bit v3.9.exe แล้วติดตั้งจนเสร็จ
2.เรียก icon จาก desktop เพื่อเตรียมระบบ(จะปรากฏ CMD Window 2 อัน)
3.เปิด Browser Chrome แล้วพิมพ์ localhost:8888 (หรือเลข ip เช่น 192.168.1.3:8888)
[ใช้เลข ip ดีกว่า เพราะเวลาทำ QRcode ให้ d/l ติดตั้งในมือถือจะเรียกได้เลย ถ้าใช้ localhost จะ d/l ไม่ได้ ]
4.จะเข้าหน้าจอแรกดังนี่
  ให้คลิกที่ Click Here to use your Google Account to login จะปรากฏหน้าจอดังนี้
แล้วคลิกปุ่ม Log In เพื่อเข้าสู่ AppInventor ดังนี้
5.เริ่มเขียนโปรแกรมได้ตามปกติ โดยมีหลัการใช้งานดังนี้
        5.1.Designer ส่วนสำหรับการเขียนหน้าจอของโปรแกรม
        5.2.Blocks ส่วนสำหรับเขียนโปรแกรมควบคุม ด้วยคำสั่งแบบลากวางหรือ Blocks





วันจันทร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การใช้ API ของ LongdoMap





หลักการใช้  api ของ longdomap เพื่อแสดงเขตการปกครอง ดังนี้

<html>
<head>
<title>create map</title>
<meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=UTF-8"/>
<link rel="stylesheet" type="text/css" href="stylemymap1.css">

<script src="http://api.longdo.com/map/?key=fd6699fe92223ffd0c8146361e020f01"></script>

<script type="text/javascript">
      
    var map;
      function init() {
        map = new longdo.Map({
          placeholder: document.getElementById('map'),

          lastView: false,
         
        });

        var geom1 = new longdo.Polyline([
            { lon: 100.3759, lat: 13.77006 },
            { lon: 101.36742, lat: 14.02802 }
        ]);   
        map.Overlays.add(geom1);
        var geom2 = new longdo.Polygon([
            {lon: 99.73389, lat: 15.78697},
            {lon: 102.453, lat: 15.68651},
            {lon: 101.48071, lat: 13.35755}
            ]);
        map.Overlays.add(geom2);
        var geom3 = new longdo.Circle(
            { lon: 99.32739, lat: 14.92355 },
             1);
        map.Overlays.add(geom3);
       
        //adi
        map.Overlays.load(new longdo.Overlays.Object(
              '12',
              'IG',
              {
                title: 'นนทบุรี',
                label: 'นนทบุรี', //ข้อความบน object
                lineColor: '#888', //สีของเส้น
                fillColor: null  //สีพื้นหลัง
              }
            ));
            ////
       
             
              
        map.Overlays.load(new longdo.Overlays.Object(
          'ต.ถ้ำน้ำผุด',
          'ADM'
        ));
        ////////////////////////////////////////////
       
         map.Overlays.load(new longdo.Overlays.Object('96', 'IG'));  // จ.นราธิวาส
       
        map.Overlays.load(new longdo.Overlays.Object('9610', 'IG'));//    อ.สุไหงโกลก
        map.Overlays.load(new longdo.Overlays.Object('961204', 'IG'));//    ต.ช้างเผือก
      
       
       
        ///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////
    }
       
    </script>


</head>

<body onload="init();">
    <div id = "map"></div>
   
</body>
</html>



วันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2559

หลักการทำ File Server สำหรับองค์กร

       หลักการทำ file Server ใช้สำหรับการจัดเก็บรวบรวมขไฟล์ข้อมูลจากสมาชิกทุกคนในองค์การ เพื่อเก็บไว้ในที่เดียวกัน สำหรับการเรียกใช้ในอนาคตได้ ไม่ประสบปัญหาไฟล์หายหรือหาไม่เจอ ซึ่งในปัจจุบันไม่เพียงแต่จะเป็นไฟล์จากเครื่อง PC หรือ NoteBook เท่านั้น ยังมีไฟล์ที่ทำจากเครื่องโทรศัพท์SmartPhone หรือ Tablet โดยเฉพาะอย่างยิ่งไฟล์ภาพต่างๆที่ถ่ายเก็บไว้ด้วย SmartPhone
โดยมีหลักการทำได้ดังนี้
1.เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ PC 1 เครื่อง(ที่มีคุณภาพดี) และตั้งอยู่ระบบเครือข่าย LAN
โดยจะต้องดำเนินการดังนี้
1.1.กำหนด fix IP ให้แน่ใจว่าจะไม่ทับกับเลข IP ที่แจกด้วย DHCP เช่น 192.168.1.100
            
1.2.ติดตั้ง Desktop Google Drive (สำหรับการZynchronize ข้อมูลระหว่าง Local และ Cloud)
       -Link กับ Drive ที่กำหนดใน Google Drive (สมัคร Gmail ก่อนล่วงหน้าเพื่อจะได้พื้นที่ใน google Drive แล้วสร้างโฟล์เดอร์ตามต้องการ)

1.3.ติดตั้ง FileZilla Server (สำหรับการส่งข้อมูลเข้า Local ด้วย SmartPhone)
2.ติดตั้ง FileZilla Client บนPC ที่เป็นลูกข่าย




การเนียต(ความตั้งใจ) สำหรับการอ่านอัลกุรอาน



หลากหลายการเนียต(ความตั้งใจ) สำหรับการอ่านอัลกุรอาน
แปลจาก How to read Quran with Multiple Intentions
By Shaibu Asali, Tutorial Assistant at Islamic Online University
 
1.อ่านเพื่อให้กุรอาน ขอร้องให้เราในวันพิพากษา ศาสดากล่าวว่า "คัมภีร์กุรอ่านจะมาเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือสำหรับผู้ที่ได้อ่าน ในวันพิพากษา" by Muslim

2.อ่านเพื่อให้ได้ผลบุญ(ได้รับรางวัล) อับดุลลาห์อิบัน Mas'ud เล่าว่า ศาสดาบอกว่า "ผู้ใดอ่านหนึ่งตัวอักษรจากอัลกุรอาน อัลลอฮ์ตอบแทนและรางวัลจะถูกคูณด้วยสิบ" by at-Tirmidhee

3.อ่านเพื่อหาทางรอดจากไฟนรก ศาสดา กล่าวว่า "ถ้ากุรอานถูกขังอยู่ในผิว ก็จะไม่ถูกเผาด้วยไฟ" -Graded as authentic by al-Albaani

4.อ่านเพื่อเป็นการเติมเต็มกุรอานในหัวใจของเรา ศาสดา กล่าวว่า "คนที่ไม่มีอะไรของอัลกุรอานในตัวเขา จะเป็นเหมือนบ้านที่เจ๊งแล้ว" by at-Tirmidhee(2913)

5.อ่านเพื่อจดจำและปฏิบัติตามเพื่อให้เราสามารถขึ้นไปในสวรรค์ ศาสดากล่าวว่า "ผู้หนึ่งที่ท่องคัมภีร์กุรอ่านจะขึ้นไปในสวรรค์และอ่านเหมือนที่คุณใช้ในการอ่านในโลกนี้ สำหรับสถานที่ของคุณในสวรรค์ เป็นที่สุดท้ายตามอายะห์ที่คุณท่องจำ" by Abu Dawood and at-Tirmidhee (2914)

6.อ่านเพื่อรักษาโรคของจิตใจและร่างกาย และได้รับความเมตตาจากอัลลอฮ์       อัลลอฮ์ กล่าว "เราส่งคัมภีร์กุรอ่านเพื่อเป็นการบำบัดและความเมตตาสำหรับผู้ศรัทธา" al-Israa:82

7.อ่านเพื่อความสงบสุขของหัวใจ(tranquillity and peace) อัลลอฮ์กล่าวว่า "แท้จริงในการรำลึกถึงอัลลอฮ์ ทำให้หัวใจได้พัก" Ar-Ra’d: 28

8.อ่านเพื่อให้กุรอานให้ชีวิตกับหัวใจ, ให้แสงสว่างทางนำ และลบความเครียดและความกังวลของเรา คัมภีร์กุรอ่านเป็นเสมือนทางสว่างแก่ผู้ศรัทธา เหมือนกับน้ำฝนสาดส่งถึงโลก ศาสดา เคยขอดูอาว่า " ... และจงทำให้คัมภีร์กุรอ่านให้ชีวิตกับหัวใจ, ให้แสงสว่างในทรวงอก และลบความเครียดและความกังวลของฉัน " by Ahmad (4318)

9.อ่านเพื่อให้กุรอานให้คำแนะนำกับเรา อัลลอฮ์กล่าวว่าใน Surah Al-Baqarah "หนังสือเล่มนี้(กุรอาน)ซึ่งไม่มี ข้อสงสัยใดๆ เป็นคำแนะนำสำหรับผู้ศรัทธา" al-Baqarah(2) และในฮาดิสQudsi อัลลอฮ์กล่าวว่า "โอ้ทาสของฉัน คุณทุกคนหลง ยกเว้นผู้ที่ฉันแนะนำ ฉะนั้นจงขอคำแนะนำจากฉันและฉันจะแนะนำให้คุณ" by Muslim (111)

10. อ่านด้วยเนี้ยต(intention)ที่จะตายบนเส้นทางของอัลกุรอาน เช่นเดียวกับอุสมาน(Uthman)ที่ตายในขณะอ่านอัลกุรอาน อิบนุกาซีร กล่าวว่า
"ใครก็ตามที่มีชีวิตอยู่กับสิ่งนั้นก็จะตายกับสิ่งนั้น และใครก็ตามที่ตายกับสิ่งนั้น ก็จะได้รับการฟื้นคืนชีพกับสิ่งนั้น" อิบนุกาซีร อธิบายจาก Al-Jaathiyah: 21  "หรือว่าผู้ที่กระทำความชั่วร้ายคิดว่าเราจะทำให้พวกเขาเช่นบรรดาผู้ศรัทธาและกระทำความดีทั้งหลาย - [ทำให้พวกเขา] เท่าเทียมกันในชีวิตและความตายของพวกเขา? ความชั่วร้ายคือสิ่งที่พวกเขาตัดสิน"

11. อ่านด้วยความหวังว่ากุรอานจะให้บรรลุถึงความใกล้ชิดกับอัลลอฮ์ ด้วยความรักในคำพูดของพระองค์  เหมือนฮาดิสที่กล่าวในal-Bukharee (6167) "คุณจะอยู่กับบรรดาผู้ที่คุณรัก"

12.อ่านเพื่อเพิ่มอีหม่านของเรา เพราะอัลลอฮ์กล่าวว่า At-Tawbah: 124
"และเมื่อใดก็ตามที่ Surah ถูกเปิดเผยมีอยู่ในหมู่คนหน้าซื่อใจคดบรรดาผู้ที่กล่าว" ซึ่งท่านมีความเชื่อมั่นที่เพิ่มขึ้นนี้? "ในฐานะที่เป็นผู้ที่เชื่อว่าจะได้เพิ่มขึ้นพวกเขาในความเชื่อในขณะที่พวกเขาจะดีใจ"

13.อ่านเพื่อที่จะเพิ่มความรู้ของอัลลอฮ์(รู้จักพระองค์) เพื่อให้เราสามารถเพิ่มความอ่อนน้อมถ่อมตน และเพิ่มความต้องการอัลลอฮ์ เพื่อที่ว่าเราจะขอความช่วยเหลือจากพระองค์ตลอดเวลาในชีวิตของเรา

14. อ่านเพื่อให้อัลลอฮ์เลือกเราเป็นจากคนพิเศษของพระองค์ เพราะตามฮาดิส ibn Majah (215)  ท่านศาสดา กล่าวว่า
     "อัลลอฮ์มีคนของตัวเองของเขาในหมู่มวลมนุษยชาติ" พวกเขากล่าวว่า "โอ้ ศาสดา เขาเป็นใคร?" เขากล่าวว่า "คนของคัมภีร์กุรอ่าน คนของอัลลอฮ์ และคนเหล่านั้นเป็นผู้ที่มีความใกล้ชิดกับอัลลอฮ์"

15. หนึ่งในความตั้งใจที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุด คือ เพื่อเป็นการอีบาดัต(worship)ต่ออัลเลาะห์ เพราะอัลลอฮสั่งใน  Al-Muzammil: 4   "... และจงอ่านคัมภีร์กุรอ่านด้วยตัรตีล"

REF:http://blog.islamiconlineuniversity.com/how-to-read-quran-with-multiple-intentions/

วันเสาร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2559

Plugin WebEdi สำหรับ Notepad++

WebEdit เป็นPlug in สำหรับ Notepad++ ในการเขียนคำสั่งตั้งบนToolBar

สามารถนำมาใช้งานได้สะดวกมา

ดาวนโหลด คำสั่งที่ทำไว้แล้ว สามารถนำไปวางใน C:\Users\Administrator\AppData\Roaming\Notepad++\plugins\

มหมายเหตุ Administrator ให้เปลี่ยนตามชื่อ User

วันพุธที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2559

Appserv 8.4 กับ windows 10

ติดตั้ง Appserv เสร็จจะเรียกใช้ PhpMyAdmin ไม่ได้ เนื่องจากในหน้า index.php ของ Appservกำหนดlinkไม่ถูกต้อง  จะต้องเรียกผ่าน localhost/phpmyadmin/index.php หลังจากแก้ไขแล้วจะใช้งานได้ตามปกติ

ขณะติดตั้ง Mysql จะต้องระบุ root password จำนวน 8 หลัก

วันอาทิตย์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2559

การวิเคราะห์แจกแจงความถี่ด้วยโปรแกรมสถิติ JASP



   หลังจากเปิดไฟล์ข้อมูลสำหรับการวิเคราะหื์แล้ว( ไฟล์ .jasp หรือ .csv )
และคลิกแท็ป common(เพื่อแสดงToolbarกลุ่มสถิติ) แล้วให้ดำเนินการดังนี้

1. คลิกแท็ป Descriptive

2.เลือกตัวแปร

3.ติกเลือกแสดง display frequency tables

4.จะได้ผลลัพทธ์ในช่องการแสดงผลดังนี้



การแปลงข้อมูลเป็น CVS สำหรับ PSPP


                   การแปลงข้อมูลจากไฟล์ .sav สำหรับเป็นข้อมูล .csv เพื่อนำไปใช้กับการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย PSPP หรือ JASP โดยใช้งาน Online ที่  http://pspp.benpfaff.org/




วันเสาร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2559

โปรแกรมสถิติ PSPP ใช้แทน SPSS

   
                     โปรแกรม PSPP เป็น GNU Project เป็น Freeware ที่ใช้วิเคราะห์ค่าสถิติ สามารถทดแทนโปรแกรม SPSS ได้ โดยมีการทำงานที่คล้ายกันมาก เช่น การกำหนดค่าตัวแปร การป้อนข้อมูล ตลอดจนการแสดงผลการวิเคราะห์ ตารางต่าง ๆ เป็นต้น มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ที่สำคัญคือ ไม่มีระเบิดเวลา ใช้งานได้ตลอดกาล ไม่มีวันหมดอายุ ไม่จำกัดจำนวนตัวแปร หรือ จำนวนข้อมูล คือ มีจำนวนข้อมูลได้มากกว่า 1 พันล้านเรคคอร์ด มีตัวแปรได้มากกว่า 1 พันล้านตัว เช่น ถ้าใช้กับแบบสอบถาม ก็สามารถวิเคราะห์แบบสอบถามได้มากกว่า 1 พันล้านฉบับ แบบสอบถามสามารถมีข้อคำถามได้มากกว่า 1 พันล้านข้อ ซึ่งมากมายมหาศาล พูดได้ว่า โปรแกรมไม่มีข้อจำกัดก็ว่าได้ นอกจากนี้ โปรแกรม PSPP ยังมีความสมบูรณ์ในตัวเอง ไม่ต้องมี Package เพิ่มเติม ถ้าต้องการวิเคราะห์ค่าสถิติระดับสูง เพราะ PSPP  มีความสมบูรณ์ในต้วเอง ทุกอย่างมีอยู่ใน Core package แล้วทั้งหมด ไม่ต้องมีอะไรมาเสริม และอีกอย่าง โปรแกรมนี้ ยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จึงทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
                มีความสามารถวิเคราะห์ค่าสถิติเชิงพรรณา (descriptive statistics) ค่าสถิติ T-tests, anova, linear and logistic regression, measures of association, cluster analysis, reliability and factor analysis, non-parametric tests และอื่น ๆ โปรแกรมออกแบบให้สามารถวิเคราะห์ผลได้อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าข้อมูลจะมีขนาดใหญ่เพียงใดก็ตาม สามารถเลือกใช้เมนูต่าง ๆ ของโปรแกรม หรือ ใครถนัดแบบเดิม จะเรียกใช้งานเป็นคำสั่งโดยตรงได้ 

โดยสรุป คุณลักษณะของโปรแกรม PSPP มีดังนี้ (มีตัวอย่างหน้าจอ และรายงานของโปรแกรม คลิกที่นี่)
  • สามารถใช้ข้อมูลได้ มากกว่า 1 พันล้านรายการ (over 1 billion cases)
  • สามารถใช้ตัวแปรได้ มากกว่า 1 พันล้านตัวแปร (over 1 billion variables)
  • ไวยากรณ์และไฟล์ข้อมูล เข้ากันได้กับโปรแกรม SPSS
  • สามารถเลือกการใช้งานได้หลายโหมด เช่น แบบ terminal หรือแบบเมนู หน้าจอของโปรแกรม
  • สามารถพิมพ์รายงานได้หลายรูปแบบ เช่น ข้อความธรรมดา (text) postscript, pdfopendocument หรือเป็นเว็บเพจ html ก็ได้
  • สามารถทำงานร่วมกับโปรแกรมเอกสารฟรี เช่นGnumericLibreOfficeOpenOffice.Org เป็นต้น
  • สามารถนำข้อมูลเข้าจาก โปรแกรม spreadsheets เช่น Excel หรือไฟล์ text หรือ จากฐานข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างง่ายดาย
  • สามารถใช้งานการวิเคราะห์ข้อมูลพร้อมกันได้ 2 ชุด (datasets) ซึ่งสามารถนำข้อมูลมารวมกัน หรือต่อกันได้ เป็นข้อมูลชุดเดียวกัน 
  • สนับสนุนได้หลายภาษา รวมทั้งภาษาไทย และใช้ Font ที่นิยมเป็นมาตรฐานได้
  • วิเคราะห์ผลได้อย่างรวดเร็ว แม้ว่าจะมีข้อมูลจำนวนมากก็ตาม
  • ใช้ได้ฟรี ไม่มีค่า license
  • ไม่มีวันหมดอายุ
  • ไม่มีเจตนาซ่อนเร้นเอาเปรียบ ไม่เป็นธรรมที่มาในรูปของ “end user license agreements
  • มีคู่การใช้งานที่ใช้ง่าย ค้นหาง่าย และสมบูรณ์
  • มีความเป็นอิสระ ลิขสิทธิ์ภายใต้ GPLv3 หรือสูงกว่า สามารถใช้งาน คัดลอก แจกจ่ายโปรแกรมได้อย่างอิสระ แก้ไขโปรแกรมก็ได้ (ถ้าทำได้)
  • พกพาได้สะดวก ใช้ได้กับคอมพิวเตอร์หลายประเภท หลายระบบปฏิบัติการหลายอย่าง ทั้ง Windows Linux เป็นต้น
หมายเหตุ : ผลการตรวจสอบราคาโปรแกรม SPSS จาก http://www.globalsoftthailand.com วันนี้ 15 มึนาคม 2558 มีราคาตั้งแต่ 34,800 ถึง 62,400 บาท 

cr : http://www.thongjoon.com/2015/03/pspp-spss.html



โปรแกรมสถิติ JASP Statistics

JASP A Fresh Way to Do Statistics

JASP, a low fat alternative to SPSS, a delicious alternative to R. Bayesian statistics made accessible.

Features

  • Descriptive Statistics
  • Plots
  • Independent Samples T-Test
  • Paired Samples T-Test
  • One Sample T-Test
  • Levene’s Test
  • ANOVA
  • ANCOVA
  • Repeated Measures ANOVA
  • Contingency Tables
  • Pearson’s Correlation
  • Spearman Correlation
  • Kendall’s Tau-B
  • Linear Regression
  • Bayesian Indepedent Samples T-Test
  • Bayesian Paired Samples T-Test
  • Bayesian One Sample T-Test
  • Bayesian ANOVA
  • Bayesian ANCOVA
  • Bayesian Repeated Measures ANOVA
  • Bayesian Linear Regression
  • Bayesian Contingency Tables
  • Bayesian Correlation Tables

Coming soon!

  • Bayesian Sensitivity Analysis
  • MAN(C)OVA

Limitations

  • Currently only imports .csv files (but what else would a scientist use?!)
  • Currently no data editing, cleaning, or restructuring facilities (Edit your data in Excel, LibreOffice or R first)
หมายเหตุ : ไฟล์ข้อมูลที่บันทึกจากในโปรแกรมจะเป็น .jasp จะเก็บทั้ง Data และผลลัพท์

ref :https://jasp-stats.org/

วันพุธที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2559

นิยาม Best Practice

American Productivity and Quality Center ให้นิยาม Best Practice ไว้ว่าคือ
"การปฏิบัติทั้งหลายที่สามารถก่อให้เกิดผลที่เป็นเลิศ" หรือ "วิธีปฏิบัติที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศ"
     Best Practices ของ รพ.สต. จึงเป็นวิธีการทำงานใหม่ที่ รพ.สต. เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ซึ่งนำไปสู่การบรรลุผลลัพธ์ที่ตอบสนองความคาดหวังของผู้รับบริการ ชุมชน และเป้าหมายของ รพ.สต. อย่างมีประสิทธิภาพทำให้ รพ.สต. ประสบความสำเร็จ ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
      วิธีปฏิบัติในการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ที่จะเรียกได้ว่าเป็น Best Practices นั้น
มีแนวทางการพิจารณา 6 ข้อ ดังนี้
   1.วิธีปฏิบัตินั้น ดำเนินการบรรลุผลได้สอดคล้องกับความคาดหวังของผู้รับบริการหรือชุมชนที่มีต่อ รพ.สต.
   2.วิธีปฏิบัตินั้น ผ่านกระบวนการนำไปใช้อย่างเป็นวงจร จนเห็นผลอย่างชัดเจนว่า ทำให้เกิดคุณภาพสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง  หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ วิธีปฏิบัตินั้นมีกระบวนการ PDCA จนเห็นแนวโน้มของตัวชี้วัดความสำเร็จที่ดีขึ้น
   3.รพ.สต. สามารถบอกเล่าถึงวิธีปฏิบัตินั้นได้ว่า “ทำอะไร” (what) “ทำอย่างไร” (how) และ “ทำไมจึงทำ หรือ ทำไมจึงไม่ทำ” (why)
   4.ผลลัพธ์จากวิธีปฏิบัตินั้น เป็นไปตามองค์ประกอบ ข้อกำหนดของการพัฒนาคุณภาพเชิงระบบ
   5.วิธีปฏิบัตินั้น สามารถระบุได้ว่า เกิดจากปัจจัยสำคัญที่ชัดเจน และปัจจัยนั้นก่อให้เกิดการปฏิบัติที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
   6.วิธีปฏิบัตินั้นใช้กระบวนการจัดการความรู้ (KM) เช่นการเล่าเรื่อง (Storytelling) ในการถอดบทเรียนจากการดำเนินการ

ข้อมูลจาก :https://www.gotoknow.org/posts/113893
อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/113893