คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต,บรรยายวิชาการ,วิจัย,ศึกษากุรอาน,E-Book

วันศุกร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2563

สรุปแนวทางการเขียนรับรางวัลเลิศรัฐ กพร

บันทึกผลจากการฝึกอบรมโดย ของ อ.กิตติณัฐ พนมฤทธิ์

การส่งผลงานประกวด"การบริการภาครัฐ" ของ กพร.
คุณสมบัติของหน่วยงานที่จะส่ง
-หน่วยงานของรัฐทุกประเภท
-เป็นผลงานที่ใช้จริงและสำเร็จมาแล้ว 1 ปี
-สมัครตามกำหนด 4 ธค.62 - 14 กพ.63 (3 เดือน)

def:หน่วยงานราชการต่างๆที่บริการประชาชน ในลักษณะต่างๆ
ที่ได้ผลงานดี มีลักษณะเโดดเด่น สามารถเขียนเป็นเอกสาร เพื่อส่งประกวดที่ กพร.

ปี 2563 มี 4 ประเภท
1.ประเภทนวัตกรรมบริการ
2.ประเภทพัฒนาการบริการ
       (จะพัฒนาจากผลงานคนอื่นได้่  แต่ต้อง
            -เร็วขึ้น         
            -สะดวกขึ้น
            -ถูกลง
      ) 
3.ประเภทขยายผลมาตรฐานการบริการ
   (-ต้องขยายผลจากผลงานที่เคยส่งที่ กพร ไม่เกิน 5 ปี เท่านั้น
      เป็นของตนเองหรือคนอื่นก็ได้
    -Scopeการขยาย ดูตามความรับผิดชอบของหน่วยงานเป็นหลัก
   )
4.ประเภทบูรณาการข้อมูลเพื่อการบริการ
   (อย่างน้อย 3 กรม ขึ้นไป)

หมายเหตุ : ประเภท 1,2 ใช้รูปแบบการเขียนเดียวกัน
เพราะเป็นการเริ่มต้นจากปัญหาที่เกิด
จากพนักงานหน้างาน หรือ Ftronteer Staff

วิธีการส่งประเภทนวัตกรรมบริการ
-จะต้องเป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการบริการ
 เพื่อแก้ปัญหาของผู้รับบริการ เท่านั้น
-Def: กพร. จะมองนวัตกรรมเป็น process
      1.เกิดจากการสร้าง Idea ใหม่ (Initiative)
      2.แปลง Idea สร้างให้เป็นรูปธรรม(Invention)
      3.แล้วนำไปใช้ประโยชน์(Innovation)

     Initiative -----> Invention ------> Innovation

หมายเหตุ :
   -ถ้าขาดข้อ 3.การใช้ประโยชน์ จะเป็นเพียง"สิ่งประดิษฐ์"เท่านนั้น
     มิใช่"นวัตกรรม"
   -นวัตกรรม มิจำเป็นต้องเป็น IT เสมอไป
   -ลูกค้าเท่านั้นที่จะเป็นผู้บอกว่าเป็นนวัตกรรมหรือไม่? มิใช่เรา
   -นวัตกรรมที่ดีที่สุดจะต้องตอบสนองลูกค้ามากที่สุด
   -วิธีการสร้างนวัติกรรม
    ให้ใช้รูปแบบของหลักคิดของDesigner หรือเรียกว่า Design Thinking
    มีวงล้อหมุนเวียน 5 ขั้นตอน ดังนี้(สามารถใช้ Sprint ของ Google ได้)
            1.Empathize-เข้าใจลูกค้า
            2.Define-สรุปความต้องการลูกค้า
            3.Ideate-ระดมสมองกำหนดรูปแบบนวัตกรรม
            4.Prototype-สร้างแบบจำลองของนวัตกรรม
            5.Test-ทดสอบแบบจำลอง
            หมายเหตุ: ขั้นตอนทดสอบถ้าSoftware เรียกว่า Alpha Type Software

หากจะให้ได้รับรางวัล จะส่งผลงานที่
-เป็นการแก้ปัญหาที่สำคัญ(Important)
-รูปแบบการแก้ปัญหาที่มีเอกลักษณ์(Unique)
-เป็นงานที่ทรงคุณค่า(Valuable) อย่างน้อยๆต้องมี Undestand pattern หรือบทเรียนที่ได้รับ

กรอบของรูปแบบการเขียนรายงาน
1.การตั้งโจทย์อย่างเป็นระบบ --->การวิเคราะห์ปัญหา (10 คะแนน)
2.การแก้โจทย์ที่เป็นเหตุเป็นผล --->แนวทางการแก้ปัญหา (20 คะแนน)
3.นำเสนอผลที่เกิด ครบถ้วน --->ผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบ (60 คะแนน)
4.มีความยั่งยืน --->ความยั่งยืนของโครงการ (10 คะแนน)
    เช่น จนกลายเป็นงานประจำ หรือ ยังเกิดขึ้นได้แม้สิ้นโครงการแล้ว

สรุปขั้นตอนการเขียนผลงาน(ตาม FlowChart ของ อ.กิตติณัฐ พนมฤทธิ์)
1.ปัญหาคืออะไร
2.แนวคิดในการแก้ปัญหาคืออะไร
     -กำหนดแนวทางการแก้ปัญหา
     -กำหนดเป้าหมายที่ต้องการ
3.นำไปปฏิบัติอย่างไร
    -กำหนดปัจจัยความสำเร็จที่จำเป็น(KSF) KSF ยิ่งมากยิ่งดี
    -ระบุสถานการณ์ปัจจุบันของแต่ละKSF
    -ระบุกลยุทธ/แผนงาน การแก้ปัญหาของแต่ละKSF
    -ระบุทรพยากรที่ใช้ ของแต่ละKSF
    หมายเหตุ : เวลาเขียนpaperให้แยกเป็นParagraphให้ดี
4.ผลผลิต/ผลลัพธ์คืออะไร
5.ประชาชนได้อะไร
6.ประเมินเป็นทางการอย่างไร
7.จัดการผลผลิตเชิงลบอย่างไร
8.ขยายผลอย่างไร
9.เชื่อมโยงกับ SDGs อย่างไร
(SDGsสามารถดูจากข้อมูลKPIย่อยในWebของUN)
หมายเหุต : ให้ดูภาพของFlowChartจากSlideประกอบ


สิ่งที่ได้จากการอบรมเรื่องอื่นๆ 
VUCA Word
V-Volatility-ความผันผวน
U-Uncertainty-การคาดการณ์ได้ยาก
C-Complexity-ความซับซ้อน
A-Ambiguity-ความคลุมเคลือ

การตั้งราคาสินค้า 50%ควรเกิดจาก
-Idea
-Brand

การแบ่งยุคของDigital
-ยุค 1.0 --->Information Sysyemข้อมูลข่าวสาร
-ยุค 2.0 --->Social Network
-ยุค 3.0 --->Big Data ข้อมูลถูกเก็บหลากหลายรูปแบบมาก จำนวนมาก
-ยุค 4.0 --->Machine Learning(AI / IoT)

ปัญหาของประเทศไทย
-เราถูกสอนให้คิดตาม มิใช่ให้คิดเอง

ระดับการพัฒนาของประเทศไทยตาม Global Competitiveness index 2016
มีอยู่ 12 pillar ส่วนใหญ่ประเทศไทยอยู่ต่ำกว่า
ค่ามาตรฐานของ East Asia and Pacific
โดยเฉพาะ ด้านนวัติกรรม( 12th pillar : Innovation) อยู่ในระดับต่ำมากๆ

ประเทศไทย มีpillar ที่ต่ำมากๆ มี 2 pillar คือ
-1st pillar : Institutions-สถานประกอบการ
-12th pillar : Innovation-นวัตกรรม