บางครั้งจะตอบว่า Facebook คืออะไรเพื่อให้เข้าใจง่ายแก่ผู้ที่ยังไม่เคยใช้งาน จึงขออธิบายอย่างนี้นะครับว่า Facebook ก็ประมาณว่าเป็นที่ที่เราสร้างหรือบ้านของเราที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นสถานที่ที่ให้ผู้คนสามารถส่งข้อความให้เราได้ ดูรูปภาพในบ้านเรา หรือแม้กระทั่งการสนทนากับเราได้ในขณะที่กำลังออนไลน์ นอกจากนั้นแล้วยังเป็นวิธีที่ดีที่สุดสำหรับการติดต่อกับเพื่อนและบุคคลอื่นแม้กระทั่งเพื่อนที่หายไปนานแล้วก็ตาม
ใน Facebook จะมีที่เสมือนผนังบ้านที่สามารถเขียนความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เรากำลังทำอยู่ หรือแบ่งปันภาพถ่ายและเขียนข้อความให้เพื่อนของเรา นอกจากนี้เรายังจะเห็นสิ่งที่เพื่อน ๆ ของเราที่กำลังเขียนบนผนังfacebook ของเขา และทุกคนที่อยู่ในรายชื่อเพื่อนของเราจะสามารถมาเขียนแสดงความคิดเห็นลงบนผนัง facebook ของเราได้ ดังนั้นไม่เพียง แต่จะเป็น ผนัง Facebook สถานที่ที่ดีเพื่อให้ทุกคนรู้ว่าเรากำลังทำอะไรด้วยแสดงภาพให้เห็น ยังเป็นสถานที่ที่จะเริ่มต้นการสนทนาได้ดีอีกด้วย
ที่มา http://webtrends.about.com/od/socialnetworking/a/why_facebook.htm
คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต,บรรยายวิชาการ,วิจัย,ศึกษากุรอาน,E-Book
วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
วันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2554
การแนบไฟล์ในปฏิทิน Google Calendar
ขั้นตอนที่ 1 ใส่ไฟล์ที่ต้องการแนบไว้ในระบบจัดเก็บเอกสาร (Google docs)
1.เข้าในระบบจัดเก็บเอกสาร (Google docs) โดยคลิกที่เมนู “เอกสาร(Documents)” จะแสดงหน้าจอ ดังนี้
2.นำไฟล์ข้อมูลหรือไฟล์ภาพที่ต้องการแนบในปฏิทินเก็บเข้าไว้ในระบบจัดเก็บเอกสาร (Google docs) มีขั้นตอนดังนี้
จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้
จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้
จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้
แล้วคลิก Share จะปรากฏหน้าจอดังนี้
แล้วคลิก Change จะปรากฏหน้าจอ แล้วติ๊กที่ “Public on the web” ดังนี้
คลิก save แล้วจะปรากฏหน้าจอดังนี้
ให้คลิกปุ่ม Close แล้วจะปรากฏรายชื่อไฟล์ในระบบเอกสาร(Google docs) ดังนี้(พร้อมมีข้อความ Shared หลังชื่อไฟล์)
ขั้นตอนที่ 2 แนบไฟล์ในปฏิทิน(Google calendar)
1.เข้าในระบบปฏิทิน (Calendar) โดยคลิกที่เมนู “ปฏิทิน (Calendar)” จะแสดงหน้าจอ ดังนี้
2.กำหนดกิจกรรมบนปฏิทินตามวันที่ ที่ต้องการ มีขั้นตอนดังนี้
2.1.คลิกบนวันที่ ที่ต้องการระบุกิจกรรม จะปรากฏหน้าจอดังนี้
ให้คลิก “ แก้ไขรายละเอียดกิจกรรม” จะปรากฏหน้าจอดังนี้
คลิก “เพิ่มไฟล์แนบ” จะปรากฏหน้าจอให้เลือกไฟล์จากระบบเอกสาร (Google docs) ตามที่นำเข้าในขันตอนที่ 1 โดยให้คลิกเลือกไฟล์ที่ต้องการจะสัญลักษณ์ / หน้าไฟล์ที่ต้องการแนบ แล้วคลิกปุ่ม “เลือก” ดังนี้
แล้วจะปรากฏหน้าจอ โดยแสดงรายชื่อไฟล์แนบ ดังนี้
สุดท้ายคลิกปุ่ม”บันทึก”
วันจันทร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2554
การใช้ google calendar ทำ portfolio ในหน่วยงาน
การปฏิบัติงานของบุคลากรแต่ละหน่วยงานในปัจจุบัน ส่วนใหญ่จะมีการใช้งานอินเทอร์เน็ตเป็นประจำเกือบทุกวันอยู่แล้ว google calendar เป็นปฏิทินที่สามารถกำหนดกิจกรรมในแต่ละวันลงในปฏิทิน และยังสามารถกำหนดการแสดงผลได้หลากหลายรูปแบบ เช่น แสดงเป็น สัปดาห์ เดือน หรือ แผนงาน เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วระบบการจัดเก็บเป็นการจัดเก็บแบบ online ซึ่งจะมีข้อดีมากมายหลายอย่าง อาทิเช่น สามารถบันทึกได้จากทุกที่ และทุกเวลา ซึ่งแตกต่างกับการจัดเก็บด้วยกระดาษอย่างสิ้นเชิง สำหรับวิธีการใช้งานสามารถศึกษาได้ ที่นี่ ซึ่งหลังจากได้จดทะเบียนใช้งานแล้วจะมีหน้าจอดังนี้
สำหรับการรวมกิจกรรมของแต่ละคนในหน่วยงานเพื่อแสดงไว้ในที่เดียวกัน โดยนำกิจกรรมที่บันทึกในปฏิทินของสมาชิกแต่ละคนมาแสดงไว้ในหน้าเดียวกัน โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1.แบ่งปันปฏิทินแต่ละให้เป็นสาธารณะ ดังรูป
2.เขียนไฟล์ html โดยใช้ iframe เพื่อแสดงแต่ละปฏิทิน ดังนี้
<iframe src="https://www.google.com/calendar/embed?src=username%40gmail.com&ctz=Asia/Bangkok" style="border: 0" width="500" height="300" frameborder="0" scrolling="no"></iframe>
username=ชื่อusername ของปฏิทิน
หมายเหตุ : copy กลุ่มคำสั่ง iframe ตามจำนวนปฏิทิน แล้วเปลี่ยน username ให้ตรงแต่ละปฏิทิน
จะได้ผลในจอภาพดังนี้
สำหรับการรวมกิจกรรมของแต่ละคนในหน่วยงานเพื่อแสดงไว้ในที่เดียวกัน โดยนำกิจกรรมที่บันทึกในปฏิทินของสมาชิกแต่ละคนมาแสดงไว้ในหน้าเดียวกัน โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1.แบ่งปันปฏิทินแต่ละให้เป็นสาธารณะ ดังรูป
2.เขียนไฟล์ html โดยใช้ iframe เพื่อแสดงแต่ละปฏิทิน ดังนี้
<iframe src="https://www.google.com/calendar/embed?src=username%40gmail.com&ctz=Asia/Bangkok" style="border: 0" width="500" height="300" frameborder="0" scrolling="no"></iframe>
username=ชื่อusername ของปฏิทิน
หมายเหตุ : copy กลุ่มคำสั่ง iframe ตามจำนวนปฏิทิน แล้วเปลี่ยน username ให้ตรงแต่ละปฏิทิน
จะได้ผลในจอภาพดังนี้
วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
การแยกcolumn ชื่อสกุล ใน excel
การแยกcolumn ชื่อสกุล ในโปรแกรม MS-Excel เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ผู้ใช้มีจะประสบและทำให้เสียเวลาในที่ต้องพิมพ์ให้แยก column กัน ระหว่างชื่อกับนามสกุล สมมติเรามีข้อมูลเดิมที่อยู่ใน excel ดังนี้ครับ
อาจมีคำนำหน้า ซึ่งมีทั้งเด็กชาย เด็กหญิง นางสาว นาย อยู่ด้วยกัน และตามด้วยชื่อ (ไม่เว้นวรรค) และตามด้วยนามสกุล (เว้นวรรคจากชื่อ) ถ้าต้องการแยกข้อมูลทั้ง 3 ส่วนออกจากกัน ให้ได้เป็น 3 cell คือ คำนำหน้า ชื่อ และนามสกุล มี 2 วิธีทั้งแบบใช้สูตรและไม่ใช้สูตร ดังนี้วิธีไม่ใช้สูตร
1.การแยกคำนำหน้ากับชื่อให้แยกกัน โดยใช้เมนู Find and Replace(ค้นหาและแทนที่)
โดยให้ Find คำว่าเด็กชาย และใส่ Replace ด้วยคำว่าเด็กชาย (วรรค)
แล้ว กดปุ่ม Replace all(แทนที่ทั้งหมด)
*ทำเช่นเดียวกับคำนำหน้าอื่น ๆ ให้ครบ
2.ใช้คำสั่ง Data > Text to column(ข้อความเป็นคอลัมน์) โดยใช้ Space(ข่องว่าง) เป็นตัวแบ่ง
วิธีใช้สูตร
ถ้าข้อมูลอยู่ที่ A1 ให้ใส่สูตรดังนี้
B1 =IF(LEFT(A1,3)="นาย","นาย",IF(LEFT(A1,6)="นางสาว","นางสาว",IF(LEFT(A1,7)="เด็กชาย","เด็กชาย",IF(LEFT(A1,8)="เด็กหญิง","เด็กหญิง",""))))
C1 =MID(A1,LEN(B1)+1,FIND(" ",A1)-1-LEN(B1))
D1 =RIGHT(A1,LEN(A1)-FIND(" ",A1))
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
Ebook วิจัยเชิงคุณภาพ
Ebook เนื้อหาแสดงระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ในภาพกว้างเหมาะสำหรับผู้ที่จะเริ่มต้นศึกษาการวิจัยเชิงคุณภาพ เนื้อหาเป็นภาษาอังกฤษใช้ภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ สามารถคลิกอ่านได้ที่นี่
Ebook อีกเล่มที่ผู้ต้องการศึกษาวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ อ่านง่าย เข้าใจง่าย สามารถอ่านเพื่อประกอบเป็นแนวทางสำหรับตนเองได้ คลิกอ่านได้ที่นี่
Ebook ในรูป Slide ที่สอนเนื้อหาวิจัยเชิงคุณภาพฉบับภาษาไทย สามารถอ่านและเข้าใจได้ดี เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาการวิจัยเชิงคุณภาพที่ไม่ถนัดอ่านเอกสารภาษาอังกฤษ สามารถคลิกอ่านได้ที่นี่
Ebook อีกเล่มที่ผู้ต้องการศึกษาวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ อ่านง่าย เข้าใจง่าย สามารถอ่านเพื่อประกอบเป็นแนวทางสำหรับตนเองได้ คลิกอ่านได้ที่นี่
Ebook ในรูป Slide ที่สอนเนื้อหาวิจัยเชิงคุณภาพฉบับภาษาไทย สามารถอ่านและเข้าใจได้ดี เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาการวิจัยเชิงคุณภาพที่ไม่ถนัดอ่านเอกสารภาษาอังกฤษ สามารถคลิกอ่านได้ที่นี่
วันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
ผลงานวิจัย
-พ.ศ.2539 การประเมินผลสื่อที่ใช้ในการดำเนินงานสุขศึกษาด้านสาธารณสุข ในประชาชน จังหวัดนราธิวาส
-พ.ศ.2539 สภาพการดำเนินงานสุขศึกษาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในสถานบริการ จังหวัดนราธิวาส
-พ.ศ.2539 ประเมินผล : การฝึกอบรมเสริมทักษะความรู้ความเข้าใจ เรื่องความจำเป็นพื้นฐาน(จปฐ.) ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล)
-พ.ศ.2539 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสสรรกับการดำเนินงานของ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในจังหวัดนราธิวาส
-พ.ศ.2540 การศึกษาพฤติกรรมการเลี้ยงดูและการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็ก อายุต่ำกว่า 5 ปี ในจังหวัดนราธิวาส
-พ.ศ.2540 การวิเคราะห์และเปรียบเทียบผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตามโครงการพระราช ดำริกับผลงานตามปกติ(พ.ศ.2534-2539)
-พ.ศ.2541 ผลกระทบจากหมอกควันต่อสถานะสุขภาพของประชาชนในจังหวัดนราธิวาส ศึกษากรณี : ไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง จ.นราธิวาส
-พ.ศ.2541 ผลกระทบจากหมอกควันต่อสถานะสุขภาพต่อเจ้าหน้าที่ดับไฟป่า ศึกษากรณี : ไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง จ.นราธิวาส
-พ.ศ.2541 การศึกษาและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ในโรงเรียนประถมศึกษาตามโครงการพระราชดำริ จ.นราธิวาส
-พ.ศ.2542 การประเมินผลโครงการสร้างเครือข่ายสื่อมวลชนเพื่อสร้างกระแสสังคมในการ ป้องกันโรคเอดส์ ในจังหวัดนราธิวาส
-พ.ศ.2543 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการนำเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี รับบริการ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในสถานบริการสาธารณสุข จ.นราธิวาส
-พ.ศ.2547 วิจัยประเมินโครงการผู้ว่าพบผู้นำศาสนาในจังหวัดนราธิวาส
-พ.ศ. 2548 วิจัยประเมินผลโครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของประชาชนโดยใช้คุตบะฮ์ ในจังหวัดนราธิวาส
-พ.ศ.2549 การศึกษาเชิงคุณภาพ : รูปแบบการดำเนินงานจ่ายยารักษากลุ่มโรคเท้าช้างในจังหวัดนราธิวาส
-พ.ศ.2549 การประเมินความครอบคลุมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ด้วยวิธี 30 Clusterในจังหวัดนราธิวาส
-พ.ศ.2549 การศึกษาประสิทธิภาพของการดำเนินการจ่ายยาโรคหนอนพยาธิในโรงเรียนของจังหวัดนราธิวาส
การใช้ Editplus เต็มความสามารถด้วยSetค่าPreference
1.การกำหนดให้ Run Script PHP ได้
Tools->Preference
Tool
Add
Web Server IP : 127.0.0.1
Web Server root :C:\AppServ\www
2.การเรียก Help file
Tools->Preference
Tools->User Tools
Add Tool->HTML Help File(*.chm)
กำหนดค่า Menu Text
กำหนดค่า File Name ตาม Path ของ File
3.การเรียกใช้ External Application
4.การสร้างไฟล์เพื่อ Auto-Complete
6.การสร้าง Template file
7.การ Set ค่าให้เหมาะสมกับการใช้งาน
-ไม่ backup ทุกครั้งที่ save
-เปิด Blank Page เมื่อเริ่มเรียกโปรแกรม
ตารางอบรมสร้างนักวิจัยสำหรับแก้ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
วันที่ 1 เวลา เนื้อหา
08.30-10.00 น. บรรยายทฤษฏีสำหรับบทที่ 1
-การกำหนดชื่อเรื่องการวิจัย
-การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย
-การเขียนหลักการและเหตุผล
-การเขียนสมมติฐาน
-ตัวแปรในการวิจัย
-กรอบแนวคิดการวิจัย
10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.15-12.00 น. ปฏิบัติเขียนรายงานวิจัย บทที่ 1
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 น. ปฏิบัติเขียนรายงานวิจัย บทที่ 1 (ต่อ)
15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.15-16.30 น. ตรวจสอบ/แก้ไข/พิมพ์ รายงานวิจัย บทที่ 1
วันที่ 2 เวลา เนื้อหา
08.30-10.00 น. บรรยายทฤษฏีสำหรับบทที่ 2
-หลักการทบทวนวรรณกรรม
-แนวคิด/ทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย
-เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
-การใช้อินเทอร์เน็ตในการทบทวนวรรณกรรม
10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.15-12.00 น. ปฏิบัติเขียนรายงานวิจัย บทที่ 2
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 น. ปฏิบัติเขียนรายงานวิจัย บทที่ 2 (ต่อ)
15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.15-16.30 น. ตรวจสอบ/แก้ไข/พิมพ์ รายงานวิจัย บทที่ 2
วันที่ 3 เวลา เนื้อหา
08.30-10.00 น. บรรยายทฤษฏีสำหรับบทที่ 3
-การออกแบบการวิจัย
-ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง/ขนาดตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่าง
-การเครื่องมือวิจัย
-การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัย
10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.15-12.00 น. ปฏิบัติเขียนรายงานวิจัย บทที่ 3
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 น. ปฏิบัติเขียนรายงานวิจัย บทที่ 3 (ต่อ)
15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.15-16.30 น. ตรวจสอบ/แก้ไข/พิมพ์ รายงานวิจัย บทที่ 3
วันที่ 4 เวลา เนื้อหา
08.30-10.00 น. บรรยายทฤษฏี
-หลักการทดสอบเครื่องมือ
-การวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือวิจัย
-หลักการบันทึกข้อมูลวิจัยด้วยคอมพิวเตอร์
10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.15-12.00 น. ปฏิบัติเขียนเครื่องมือวิจัย
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 น. ปฏิบัติเขียนเครื่องมือวิจัย (ต่อ)
15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.15-16.30 น. ปฏิบัติเขียน/พิมพ์โครงร่างการวิจัย
(รวมบทที่ 1,2, 3)
*ผู้รับการอบรมดำเนินการเก็บข้อมูล เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์
ระยะที่ 2
วันที่ 1 เวลา เนื้อหา
08.30-10.00 น. บรรยายทฤษฏีสถิติสำหรับการวิจัย
-ระดับการวัดของตัวแปร
-สถิติเชิงพรรณนา
-สถิติเชิงอ้างอิง
10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.15-12.00 น. ปฏิบัติวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยด้วยโปรแกรม SPSS
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 น. ปฏิบัติวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยด้วยโปรแกรม SPSS(ต่อ)
15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.15-16.30 น. อ่านผลการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัย
วันที่ 2 เวลา เนื้อหา
08.30-10.00 น. บรรยายทฤษฏีสำหรับบทที่ 4
-หลักการเขียนผลการวิจัย
-การเขียนผลการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัย
-การอ่านตารางผลการวิเคราะห์ข้อมูล
10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.15-12.00 น. ปฏิบัติเขียนรายงานวิจัย บทที่ 4
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 น. ปฏิบัติเขียนรายงานวิจัย บทที่ 4 (ต่อ)
15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.15-16.30 น. ตรวจสอบ/แก้ไข/พิมพ์ รายงานวิจัย บทที่ 4
วันที่ 3 เวลา เนื้อหา
08.30-10.00 น. บรรยายทฤษฏีสำหรับบทที่ 5
-หลักการเขียนสรุปผลการวิจัย
-หลักการเขียนอภิปรายผลการวิจัย
-หลักการเขียนข้อเสนอแนะ
10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.15-12.00 น. ปฏิบัติเขียนรายงานวิจัย บทที่ 5
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 น. ปฏิบัติเขียนรายงานวิจัย บทที่ 5 (ต่อ)
15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.15-16.30 น. ตรวจสอบ/แก้ไข/พิมพ์ รายงานวิจัย บทที่ 5
วันที่ 4 เวลา เนื้อหา
08.30-10.00 น. บรรยายทฤษฏี
-หลักการเขียนบรรณานุกรมและเอกสารอ้างอิง
-การเขียนบทคัดย่อ
-การเขียนสารบัญ/กิตติกรรมประกาศ
-การเขียนภาคผนวก
10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.15-12.00 น. ปฏิบัติเขียนบรรณานุกรม
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 น. ปฏิบัติเขียนบทคัดย่อ/สารบัญ/กิตติกรรมประกาศ
15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.15-16.30 น. ปฏิบัติเขียน/พิมพ์ รวมเล่มเอกสารวิจัย
ฉบับสมบูรณ์(รวมบทที่ 1,2, 3, 4, 5)
*ผู้รับการอบรมเตรียมจัดทำเล่มเอกสารงานวิจัย และเตรียมนำเสนอ เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์
ระยะที่ 3
วันที่ 1 เวลา เนื้อหา
08.30-10.00 น. บรรยายทฤษฏี
-หลักการนำเสนอที่มีประสิทธิภาพ
-การสร้างสไลด์ PowerPoint ที่ดี
10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.15-12.00 น. นำเสนอผลงานวิจัย
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 น. นำเสนอผลงานวิจัย
15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.15-16.30 น. นำเสนอผลงานวิจัย
วันที่ 2 เวลา เนื้อหา
08.30-10.00 น. นำเสนอผลงานวิจัย
10.00-10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.15-12.00 น. นำเสนอผลงานวิจัย
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 น. นำเสนอผลงานวิจัย
15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.15-16.30 น. มอบรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)